เราต่างก็เคยสงสัย เวลาที่เราอ่านข่าว เรามักเจอชื่อหมอที่ไม่คุ้นเคย มักจะเป็นศัพท์ยาก ๆ ที่เราไม่เคยเข้าใจ แท้จริงแล้วชื่อหมอหรือสาขาวิชาประเภทต่าง ๆ มักจะตั้งด้วยคำบาลีหรือสันสกฤต ตัวอย่างชื่อหมอหรือศาสตร์ที่เราไม่คุ้นกันก็อย่างเช่น ทันตแพทย์ [ทัน-ตะ-แพด] (Dentist) : ใคร ๆ ก็รู้จักอาชีพ หมอฟัน บางทีก็เรียกทันตแพทย์กันจนเป็นปกติ ทันต-Continue Reading

Loading

fire

เพราะบ้านเราไม่เจอเหตุการณ์ไฟไหม้ป่าแบบที่ออสเตรเลียเจอ เราจึงไม่คุ้นเคยกับคำว่า “bushfire” คนทั่วไปใช้คำว่า bush ในความหมายของ “พุ่มไม้” แต่ก็มีคนที่ใช้ bush ในความหมายอื่น อย่างชาวออสเตรเลียและแอฟริกาจะใช้ bush แทนคำว่า “ป่า” แต่เป็นป่าที่มีไม้พุ่มปกคลุม มีต้นไม้อยู่บ้าง ส่วนคำว่า “ไฟไหม้” อย่างคำว่า fireContinue Reading

Loading

เว็บไซต์ wordfrequency.info ได้วิเคราะห์ฐานข้อมูลประโยคภาษาอังกฤษแบบอเมริกันจาก Corpus of Contemporary American English (COCA)  และจัดลำดับศัพท์ภาษาอังกฤษ 5,000 คำแรก ที่มีการใช้งานเยอะที่สุด สำหรับคนเรียนภาษาอังกฤษตรงนี้เป็นประโยชน์คือ คำศัพท์พวกนี้เป็นคำที่มีการใช้งานบ่อยที่เราควรจะต้องเรียนรู้ก่อน เพราะมีโอกาสใช้มากที่สุด ส่วนศัพท์ยากๆ เฉพาะทางเราค่อยไปเรียนเพิ่มเติมเก็บตกภายหลังได้ โดยสรุปคือ 5,000Continue Reading

Loading

Submitted by tjsajja สำนวน Bumper to bumper สำนวน bumper to bumper เป็นสำนวนที่มักจะได้ยินกันบ่อยในข่าวจราจร โดยเฉพาะช่วงคับขัน  สำนวนนี้อธิบายถึงสภาพการจราจรที่รถเคลื่อนตัวได้อย่างช้าๆ จนดูเหมือนว่ากันชนท้ายของรถคันหน้าแทบจะติดกับรถคันหลังอยู่แล้ว สรุปง่ายๆ ก็แปลว่า “รถติด” หรือ “รถเคลื่อนตัวได้อย่างช้าๆ” นั่นเองContinue Reading

Loading

Submitted by emmie ivory You’re welcome หรือ your welcome หลายคนมักใช้คำนี้ผิดๆ เวลาที่มีคนกล่าวคำขอบคุณแล้วคุณต้องการจะตอบรับคำขอบคุณ หลายคนมักจะใช้คำว่า “Your welcome” จริงๆแล้วคำนี้มีที่มาจากคำว่า you are welcome เพราะฉะนั้น รูปแบบที่ถูกต้องจะเป็น “You’reContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ในตอนนี้เราจะมาเรียนสระกันอีกสองตัวครับ โดยขอขึ้นประเด็นไว้ก่อนเลยว่าเราต้องการจะพูดให้เต็มปากเต็มคำ ไม่ต้องรอให้คนถามว่า “LENS ใส่แว่นตา หรือว่า LANES บนถนน PEN ปากกา หรือว่า PAIN ความเจ็บปวด” สระสองตัวที่ว่าก็คือ สระ EH พบได้ในคำเช่น lensContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading