Submitted by hikuma *(ต้องขออนุญาติใช้คำพูดสมัยพ่อขุนรามหน่อย บุคคลที่อายุไม่ถึง18ควรมีผู้ปกครองคอยแนะนำระหว่างอ่าน)  *(บทความนี้เป็นบทความชุด พูดภาษาญี่ปุ่นแบบไม่เต็มปากเต็มคำ ที่เน้นเรื่องคำพ้องเสียงระหว่างภาษา ญี่ปุ่นกับภาษาไทย เหมาะกับคนที่ต้องการพูดภาษาญี่ปุ่นแต่ไม่มีเวลาที่จะไปเรียนและอยากจะจำให้ได้ เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้) *********************************** บทความตอนที่แปดนี้ กูได้ไอเดียมาจาก ไอ้interxtive(ขออนุญาติเรียกไอ้ด้วยความเคารพเพื่อให้บทความนี้มีความระลื่นในการใช้สรพพนาม) ไอ้interxtive  ได้เข้ามาแสดงความเห็นในคอลัมภ์ กู และทิ้ง คำที่จำมาในสมัยเด็กๆว่า”ช้างตด ม้าเตะ กูด่าใส่”Continue Reading

Loading

Submitted by pattara ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่าวันนี้เป็นเรื่องของภาษาอังกฤษฉบับภาษาพูดนะครับ อาจจะไม่มีในบทเรียน บ่อยครั้ง เราได้ยินประโยคภาษาอังกฤษจากในเพลง หรือ ภาษาพูดในหนัง ที่บางทีมีการใช้ negative ซ้อนกันสองคำในประโยคเดียว เราก็ควรจะอย่างน้อยทำความเข้าใจไว้ ว่ามันหมายความว่าอย่างไร เช่น He ain’t got no money.Continue Reading

Loading

Submitted by pattara คำว่า but เรารู้กันอยู่ว่าแปลว่า “แต่” ใช่ไหมครับ I like it but I’m full now. ฉันชอบนะแต่ว่าตอนนี้อิ่มแล้ว. It’s sad but true. มันน่าเสียใจ แต่ก็เป็นเรื่องจริง/เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอะนะ. แล้วคำว่า “allContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ในตอนนี้เราจะมาเรียนสระกันอีกสองตัวครับ โดยขอขึ้นประเด็นไว้ก่อนเลยว่าเราต้องการจะพูดให้เต็มปากเต็มคำ ไม่ต้องรอให้คนถามว่า “LENS ใส่แว่นตา หรือว่า LANES บนถนน PEN ปากกา หรือว่า PAIN ความเจ็บปวด” สระสองตัวที่ว่าก็คือ สระ EH พบได้ในคำเช่น lensContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ความเดิมตอนที่แล้วเราได้พูดถึงสระ IH และ IY กันไป ผู้อ่านทุกท่านจำกันได้ขึ้นใจแล้วนะครับ ว่าสระสองตัวนี้มีเสียงยังไง โดยที่เราได้ทำความคุ้นชินกับสัญลักษณ์บอกเสียงของเราไปแล้ว ตัวอย่างเช่น SHIP (เรือ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IH P SHEEP (แกะ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IY P ทีนี้บางท่านซึ่งเป็นแฟนพันธุ์แท้ของ LongdoContinue Reading

Loading

Submitted by amariris สวัสดีค่ะ.. หลังจากที่หายไปนาน ด้วยความขี้เกียจอย่างหาที่สุดมิได้ >.< หวังว่าจะไม่มีใครรอภาคต่อ.. เพราะไม่เคยคิดจะเขียนภาคต่อซะด้วยสิ ^^ ตามหัวข้อค่ะ ตอนนี้ เรามาพูดถึงคำว่า “สวัสดี” กัน “สวัสดี” ก็คือคำทักทายพื้นฐานที่ไม่เฉพาะเจาะจงว่า ที่ไหนเมื่อไร ใช่ไหมคะ สามารถใช้แทนคำว่า อรุณสวัสดิ์ ราตรีสวัสดิ์Continue Reading

Loading

Submitted by pattara หลังจากเกริ่นมายืดยาวถึง 2 ตอน ตอนที่ 3 นี้เรามาเริ่มเนื้อหากันเลยดีกว่าครับ สองสระแรกที่เราจะว่ากันในวันนี้ จะเป็นสระที่น่าจะเรียกได้ว่าง่ายที่สุดสำหรับคนไทย เนื่องจากว่าเสียงของสระทั้งสองนั้น คล้ายกับเสียงสระอิ และ สระอี ของภาษาไทยเอามากๆ นั่นก็คือ สระ IH และContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak      ในโอกาสที่พจนานุกรม Longdo จะเพิ่มหมวดภาษาท้องถิ่น ซึ่งรวมถึงภาษาอีสานด้วย ก็ขอทำความเข้าใจสักนิด เกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเขียนภาษาอีสาน การสะกดภาษาอีสานโดยมากเท่าที่พบในโอกาสต่าง ๆ จะสะกดคำที่เป็นคำไทยตามแบบไทย แต่สะกดคำที่เป็นคำลาวตามเสียงอ่าน เนื่องจากไม่เคยมีแหล่งอ้างอิงตัวสะกดเป็นแบบแผนให้เห็น ซึ่งก็จะทำให้เกิดความลักลั่น ที่แต่ละคำใช้อักขรวิธีต่างกัน รวมทั้งผันแปรไปมาตามสำเนียงหรือวิธีถ่ายเสียงของคนเขียน ยกตัวอย่างเช่นContinue Reading

Loading

Submitted by amariris อักษรภาษาจีนเป็นอักษรภาพ ซึ่งตัวอักษรสร้างจากภาพวาดและพัฒนา ปรับปรุง จนเป็นภาษาจีนในปัจจุบัน ตัวอักษรภาษาจีนนั้นสามารถสื่อความหมาย แต่ไม่สามารถสื่อคำอ่านได้ ต่างกับภาษาไทยที่เกิดจากตัวอักษร สระ และวรรณยุกต์ ซึ่งสามารถสื่อคำอ่านได้ แต่ไม่สามารถสื่อความหมายได้ จากข้างต้น บางท่านอาจจะคิดว่า ภาษาจีนไม่มีพยัญชนะและสระ มีเพียงตัวอักษรที่เกิดจากภาพ เพื่อใช้บ่งบอกความหมายเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้ว มีนะคะContinue Reading

Loading