ด้วยความที่ ตลาดสกุลเงินดิจิทัลหรือ cryptocurrency และ NFT (Non-fungible Token) เติบโตกันแบบพุ่งทยาน เราเลยอดไม่ได้ที่จะมาพูดถึงความหมายของคำที่น่าสนใจกันในวันนี้ ซึ่งก็คือคำว่า fungible  Fungible เป็นคำคุณศัพท์ใช้ขยาย สิ่งที่มีสัดส่วนหรือปริมาณที่สามารถถูกนำมาแทนที่ได้โดยสัดส่วนหรือปริมาณของอีกสิ่งหนึ่ง (เช่นเงินหรือของมีค่า) เพื่อที่จะชำระหนี้ นอกจากนี้คำว่า fungible ยังมีอีก 2Continue Reading

Loading

เราถูกพร่ำสอนมาตั้งแต่เด็กๆ ว่าคำหยาบเป็นสิ่งที่ไม่ดี อย่าเอาไปใช้พูดกับใคร ซึ่งก็ถูกแหละ แต่เอาจริงๆ นอกจากการใช้คำหยาบจะเป็นการกระชับความสัมพันธ์หรือสร้างความเป็นกันเองระหว่างผู้พูดและผู้ฟังแล้ว มันยังเป็นสิ่งที่สร้างสีสันให้กับการพูดหรืองานเขียนของพวกเราอีกต่างหาก เห็นด้วยกับกูปะ? (เห็นไหม แค่นี้เราก็รู้สึกสนิทกันมากขึ้นละ) แน่นอนว่าการใช้คำหยาบไม่ใช่สื่งที่เราเห็นได้ในสื่อ mainstream ไทยทั่วไป เพราะว่าอะไรก็ตามที่ส่อว่าเป็นการกระทำที่ผิดศีลธรรมก็จะถูกเซ็นเซอร์หมด (แต่กลับยอมให้มีการฉายฉากข่มขืนในละคร งงอะดิ) วันนี้เราเลยอยากหยิบตัวอย่างการใช้คำหยาบแบบสร้างสรรค์ในสื่อและโฆษณาของต่างประเทศมาให้ดูกัน บทความของ Morning BrewContinue Reading

Loading

Word of the day: gaslighting แปลว่าอะไร ที่มาที่ไปมาจากไหน? คำว่า gaslighting นอกจากจะแปลว่าจุดตะเกียงแก๊ซแล้ว ยังมีความหมายอีกอย่างที่ใช้เรียกการกระทำทางจิตวิทยาอีกต่างหาก แต่จะคืออะไรนั้นไปดูกัน Word of the day: throw shade แปลว่าอะไร ที่มาที่ไปมาจากไหน?Continue Reading

Loading

เว็บไซต์ wordfrequency.info ได้วิเคราะห์ฐานข้อมูลประโยคภาษาอังกฤษแบบอเมริกันจาก Corpus of Contemporary American English (COCA)  และจัดลำดับศัพท์ภาษาอังกฤษ 5,000 คำแรก ที่มีการใช้งานเยอะที่สุด สำหรับคนเรียนภาษาอังกฤษตรงนี้เป็นประโยชน์คือ คำศัพท์พวกนี้เป็นคำที่มีการใช้งานบ่อยที่เราควรจะต้องเรียนรู้ก่อน เพราะมีโอกาสใช้มากที่สุด ส่วนศัพท์ยากๆ เฉพาะทางเราค่อยไปเรียนเพิ่มเติมเก็บตกภายหลังได้ โดยสรุปคือ 5,000Continue Reading

Loading

Submitted by Rutairat_tni สรรพนามบ่งชี้ หรือ Demonstrative pronoun เป็นคำศัพท์ที่ใช้แทนคำนาม เพื่อบ่งชี้ว่าเป็นสิ่งไหน อันไหน หรือคนไหนสรรพนามในกลุ่มนี้เช่น  this (นี้) ใช้แทนคำนามเอกพจน์ที่อยู่ใกล้ตัวผู้พูด เช่นThis is my rabbit statue.(นี่คือรูปปั้นกระต่ายของฉัน) thatContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ความเดิมตอนที่แล้วเราได้พูดถึงสระ IH และ IY กันไป ผู้อ่านทุกท่านจำกันได้ขึ้นใจแล้วนะครับ ว่าสระสองตัวนี้มีเสียงยังไง โดยที่เราได้ทำความคุ้นชินกับสัญลักษณ์บอกเสียงของเราไปแล้ว ตัวอย่างเช่น SHIP (เรือ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IH P SHEEP (แกะ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IY P ทีนี้บางท่านซึ่งเป็นแฟนพันธุ์แท้ของ LongdoContinue Reading

Loading

Submitted by pattara หลังจากเกริ่นมายืดยาวถึง 2 ตอน ตอนที่ 3 นี้เรามาเริ่มเนื้อหากันเลยดีกว่าครับ สองสระแรกที่เราจะว่ากันในวันนี้ จะเป็นสระที่น่าจะเรียกได้ว่าง่ายที่สุดสำหรับคนไทย เนื่องจากว่าเสียงของสระทั้งสองนั้น คล้ายกับเสียงสระอิ และ สระอี ของภาษาไทยเอามากๆ นั่นก็คือ สระ IH และContinue Reading

Loading