Submitted by pattara ความเดิมตอนที่แล้วเราได้พูดถึงสระ IH และ IY กันไป ผู้อ่านทุกท่านจำกันได้ขึ้นใจแล้วนะครับ ว่าสระสองตัวนี้มีเสียงยังไง โดยที่เราได้ทำความคุ้นชินกับสัญลักษณ์บอกเสียงของเราไปแล้ว ตัวอย่างเช่น SHIP (เรือ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IH P SHEEP (แกะ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IY P ทีนี้บางท่านซึ่งเป็นแฟนพันธุ์แท้ของ LongdoContinue Reading

Loading

Submitted by amariris สวัสดีค่ะ.. หลังจากที่หายไปนาน ด้วยความขี้เกียจอย่างหาที่สุดมิได้ >.< หวังว่าจะไม่มีใครรอภาคต่อ.. เพราะไม่เคยคิดจะเขียนภาคต่อซะด้วยสิ ^^ ตามหัวข้อค่ะ ตอนนี้ เรามาพูดถึงคำว่า “สวัสดี” กัน “สวัสดี” ก็คือคำทักทายพื้นฐานที่ไม่เฉพาะเจาะจงว่า ที่ไหนเมื่อไร ใช่ไหมคะ สามารถใช้แทนคำว่า อรุณสวัสดิ์ ราตรีสวัสดิ์Continue Reading

Loading

Submitted by tli ขอนำเสนอคำที่ใช้คู่กัน เพื่อเปรียบเปรยหรือเปรียบเทียบ คำว่า brain หมายถึง สมอง คำว่า brawn (ออกเสียง บรอน) หมายถึง พละกำลัง อาจจะเจอในประโยคอย่างเช่น This task requires notContinue Reading

Loading

Submitted by tli มีหนังสือเกี่ยวกับภาษาเป็นจำนวนมากนะครับ ทั้งหนังสือที่ว่าด้วยเรื่องการเขียนทับศัพท์ภาษาต่างๆ โดยเข้าไปที่หน้าแรกของเว็บไซต์ทางราชบัณฑิตยสถาน ที่นี่ http://www.royin.go.th/th/home/ คำศัพท์ทางวิชาการหลายคำ ถ้าหาคำแปลไม่เจอ หรือต้องการคำไทยเพื่อใช้ในงานเขียน ผมแนะนำให้เข้าไปที่เว็บไซต์ของทางราชบัณฑิตยสถานครับ ที่นี่ http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php

Loading

Submitted by pattara หลังจากเกริ่นมายืดยาวถึง 2 ตอน ตอนที่ 3 นี้เรามาเริ่มเนื้อหากันเลยดีกว่าครับ สองสระแรกที่เราจะว่ากันในวันนี้ จะเป็นสระที่น่าจะเรียกได้ว่าง่ายที่สุดสำหรับคนไทย เนื่องจากว่าเสียงของสระทั้งสองนั้น คล้ายกับเสียงสระอิ และ สระอี ของภาษาไทยเอามากๆ นั่นก็คือ สระ IH และContinue Reading

Loading

Submitted by pattara จาก ตอนที่ 1 บางท่านอาจสังเกตแล้วว่าผมได้ทิ้งท้ายไว้ว่า See you! (S IY1 Y AH) ไอ้คำว่า See you! ที่แปลว่า แล้วเจอกันนะ ก็คงไม่มีปัญหาอะไร แต่ว่าไอ้ตัวด้านล่าง S IY1Continue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak      ในโอกาสที่พจนานุกรม Longdo จะเพิ่มหมวดภาษาท้องถิ่น ซึ่งรวมถึงภาษาอีสานด้วย ก็ขอทำความเข้าใจสักนิด เกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเขียนภาษาอีสาน การสะกดภาษาอีสานโดยมากเท่าที่พบในโอกาสต่าง ๆ จะสะกดคำที่เป็นคำไทยตามแบบไทย แต่สะกดคำที่เป็นคำลาวตามเสียงอ่าน เนื่องจากไม่เคยมีแหล่งอ้างอิงตัวสะกดเป็นแบบแผนให้เห็น ซึ่งก็จะทำให้เกิดความลักลั่น ที่แต่ละคำใช้อักขรวิธีต่างกัน รวมทั้งผันแปรไปมาตามสำเนียงหรือวิธีถ่ายเสียงของคนเขียน ยกตัวอย่างเช่นContinue Reading

Loading

Submitted by amariris อักษรภาษาจีนเป็นอักษรภาพ ซึ่งตัวอักษรสร้างจากภาพวาดและพัฒนา ปรับปรุง จนเป็นภาษาจีนในปัจจุบัน ตัวอักษรภาษาจีนนั้นสามารถสื่อความหมาย แต่ไม่สามารถสื่อคำอ่านได้ ต่างกับภาษาไทยที่เกิดจากตัวอักษร สระ และวรรณยุกต์ ซึ่งสามารถสื่อคำอ่านได้ แต่ไม่สามารถสื่อความหมายได้ จากข้างต้น บางท่านอาจจะคิดว่า ภาษาจีนไม่มีพยัญชนะและสระ มีเพียงตัวอักษรที่เกิดจากภาพ เพื่อใช้บ่งบอกความหมายเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้ว มีนะคะContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ยินดีต้อนรับสู่บริการใหม่ของ Longdo Dict นั่นคือบริการ Blog หรือ Web Log ที่ผู้สนใจสามารถเข้ามาเขียนบทความที่เกี่ยวกับเรื่องภาษา และเผยแพร่บนเว็บนี้ได้ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านภาษากัน โดยทางเราหวัง (และยังอาจช่วยสนับสนุนในรูปแบบต่างๆ ด้วยถ้าเป็นไปได้) ให้มีการเขียนบทความอย่างต่อเนื่อง ด้วยปริมาณและคุณภาพที่ดี ถึงขั้นสามารถพิมพ์ออกจำหน่ายเป็นหนังสือได้ เป็นการเผยแพร่ความรู้ให้กับประชาชนในวงกว้างต่อไปContinue Reading

Loading