เราถูกพร่ำสอนมาตั้งแต่เด็กๆ ว่าคำหยาบเป็นสิ่งที่ไม่ดี อย่าเอาไปใช้พูดกับใคร ซึ่งก็ถูกแหละ แต่เอาจริงๆ นอกจากการใช้คำหยาบจะเป็นการกระชับความสัมพันธ์หรือสร้างความเป็นกันเองระหว่างผู้พูดและผู้ฟังแล้ว มันยังเป็นสิ่งที่สร้างสีสันให้กับการพูดหรืองานเขียนของพวกเราอีกต่างหาก เห็นด้วยกับกูปะ? (เห็นไหม แค่นี้เราก็รู้สึกสนิทกันมากขึ้นละ) แน่นอนว่าการใช้คำหยาบไม่ใช่สื่งที่เราเห็นได้ในสื่อ mainstream ไทยทั่วไป เพราะว่าอะไรก็ตามที่ส่อว่าเป็นการกระทำที่ผิดศีลธรรมก็จะถูกเซ็นเซอร์หมด (แต่กลับยอมให้มีการฉายฉากข่มขืนในละคร งงอะดิ) วันนี้เราเลยอยากหยิบตัวอย่างการใช้คำหยาบแบบสร้างสรรค์ในสื่อและโฆษณาของต่างประเทศมาให้ดูกัน บทความของ Morning BrewContinue Reading

Loading

ครั้งนี้เราจะมาพูดถึงคำศัพท์ที่คนส่วนใหญ่เสริชหากันบน Longdo Dict โดยรอบนี้เราจะมาเสนอกันกับคำศัพท์ขึ้นต้นด้วย B ที่ถูกค้นหาความหมายค่อนข้างบ่อยภายใน 3 เดือนที่ผ่านมานี้ เราก็ไม่รู้ว่าทำไม 3 คำนี้ถึงฮิตขนาดนั้นเหมือนกัน แต่ จะมาพูดถึงความหมายกันแบบตรงๆ มันก็ดูจะน่าเบื่อจนเกินไป เราเลยจะเอาความหมายแบบกวนๆ ปน quirky ของคำเหล่านี้จาก Urban DictionaryContinue Reading

Loading

20 ปี กับ 24 สีจาก Pantone สีไหนมีความหมายว่าอะไรบ้าง? อย่างที่ทุกคนก็น่าจะได้เห็นสี Pantone ประจำปี 2021 กันแล้ว วันนี้เราก็อยากพาทุกคนย้อนกลับไปรู้สึก nostalgic กับ Pantone แต่ละสี ตั้งแต่สีแรกที่ได้เริ่มประกาศ จนไปถึงคู่สีแรกในปี 2016 อย่างสี Rose Quartz กับ Serenity นั่นเอง แอปสายรักโลกน้องใหม่ที่จะมาส่งอาหารในราคาพิเศษจากร้านที่ทุกคนชื่นชอบ การประหยัดเงินนั้นก็ถือว่าเป็นเรื่องที่ดีและการที่เราได้ทั้งประหยัดเงินทั้งได้ร่วมช่วยเหลือสิ่งแวดล้อมก็ยิ่งดีขึ้นไปอีกใช่ไหมล่ะ?Continue Reading

Loading

หญิงคนหนึ่งไปเข้าร่วมการประชุมการศึกษา เธอได้เลือกที่นั่ง และพอผ่านไปสักพักชายที่นั่งข้างกับเธอก็ได้พูดขึ้นมาว่า ชาย: “นี่คุณรู้ไหมว่ามันพึ่งมีบทความใหม่เกี่ยวกับเรื่องนี้ออกมานะ” ขณะที่ชายกำลังอธิบาย หญิงคนนั้นพยายามจะพูดแทรกขึ้นมา ชาย: “อย่าพึ่งขัดจังหวะสิ เรื่องนี้มันซับซ้อนนะเดี๋ยวคุณก็ไม่เข้าใจหรอก” พร้อมอธิบายต่อ  หญิงคนนั้นได้แต่คิดในใจว่า ที่พยายามจะพูดแทรกเพราะอยากจะบอกว่าคนที่เขียนบทความนั้นคือเธอเอง เคยโดนอธิบายในสิ่งที่เราเองก็รู้อยู่แล้ว (หรือบางทีรู้มากกว่าผู้อธิบายอีก) เหมือนเหตุการณ์ข้างต้นไหม? ไม่ว่ามันจะมาจากครู เพื่อนบ้าน คู่เดทห่วยๆ หรือคนที่ทำงานContinue Reading

Loading

Word of the day: gaslighting แปลว่าอะไร ที่มาที่ไปมาจากไหน? คำว่า gaslighting นอกจากจะแปลว่าจุดตะเกียงแก๊ซแล้ว ยังมีความหมายอีกอย่างที่ใช้เรียกการกระทำทางจิตวิทยาอีกต่างหาก แต่จะคืออะไรนั้นไปดูกัน Word of the day: throw shade แปลว่าอะไร ที่มาที่ไปมาจากไหน?Continue Reading

Loading

ถ้าทุกคนเคยดู RuPaul’s Drag Race กันหล่ะก็ ต้องเคยได้ยินคำนี้ผ่านๆ หูมาอย่างแน่นอน กับคำว่า throw shade หรือว่าโยนร่มนั่นเอง อะ! ไม่ใช่ อันนั้นก็น่าจะดูตรงตัวเกินไปหน่อย ถ้าไม่ใช่แล้วมันแปลว่าอะไรกันนะ ถ้าอยากรู้ไปดูกันเลยดีกว่าา ก่อนจะไปดูความหมาย เรามาดูที่มาที่ไปของคำนี้กันก่อนเลยละกัน เรื่องมันมีอยู่ว่าเมื่อตอนประมาณยุค 80Continue Reading

Loading

Gaslighting เป็นลักษณะหนึ่งของการใช้ความรุนแรงในการทำร้ายจิตใจ หรือการบงการทางด้านจิตใจ รวมไปถึงการบิดเบือนความเป็นจริงเพื่อที่จะทำให้คนอื่นรู้สึกงงจนไปถึงขั้นที่ ทำให้คนๆ นั้นตั้งคำถามเกี่ยวกับสุขภาพจิตของเขาและความเป็นจริง คำว่า gaslighting มาจากบทละครเรื่อง Gas Light โดย Patrick Hamilton และต่อมาได้ถูกทำเป็นหนังในปีค.ศ. 1944 ในชื่อ Gaslight ซึ่งในหนังพูดถึงสามีผู้มีนิสัยเจ้าเล่ห์ เขาพยายามที่จะปกปิดตัวตนจริงๆContinue Reading

Loading

2020 Year in Review: ย้อนกลับไปดู 6 สิ่งที่น่าจดจำของปีที่แล้วกันเถอะ เราเชื่อว่าทุกคนต้องรู้สึก over the moon แบบสุดๆ ที่เราก้าวผ่านพ้นปี 2020 มาได้สักที (เหนื่อยแหละดูออก) แต่ด้วยความที่โควิดยังคงตราตรึงในจิตใจของพวกเราอยู่ เราก็อาจจะลืมไปบ้างว่าปีที่แล้วก็มีอะไรดีๆ ให้จดจำอีกมากมายนะ วันนี้เราก็เลยจะมา throw back ให้ดูกัน ไม่ว่าจะเป็นเพลงสุดฮิตในแอปContinue Reading

Loading

ล่าสุด Twitter ก็ได้พัฒนาฟีเจอร์ใหม่ออกมา ซึ่งก็คือ “Fleets” หรือว่าการโพสต์สตอรี่สั้นๆ แบบที่หลายแอปก็มีนั่นเอง ว่าแต่ทุกคนได้ลองใช้กันหรือยังนะ แล้วสงสัยกันไหมว่า fleeting แปลว่าอะไร ทางทีมงาน Twitter เล่าว่า บางคนก็รู้สึกอึดอัดที่จะทวีตอะไรออกไป เพราะมันดูสาธารณะและ permanent ซะเหลือเกิน นอกจากนั้นเราก็ยังรู้สึกถึงความกดดันที่อยากให้มันมียอดรีทวีตและไลค์เยอะๆ อีกต่างหากContinue Reading

Loading

Nutcracker นอกจากจะแปลอย่างตรงๆ ตัวว่าที่แกะเปลือกถั่วแล้ว ยังแปลว่าอะไรได้อีกและแต่ละความหมายนั้นจะมีไรบ้าง ไปดูกัน  ก่อนอื่นเลยขอย้อนเวลาไปเมื่อปีค.ศ. 1892 จุดเริ่มต้นของการแสดงบัลเลต์คลาสสิคแบบสององก์ที่แต่งขึ้นโดยนักแต่งเพลงชาวรัสเซีย Pyotr Tchaikovsky อย่างเรื่อง The Nutcracker ซึ่งเป็นที่นิยมดูกันอย่างมากที่อเมริกาในช่วงเทศกาลคริสต์มาส ในเรื่องมีการพูดถึงช่างทำของเล่นที่ทำตุ๊กตาไม้เป็นของขวัญให้เด็กๆ ซึ่งก็พาเรามาถึงความหมายที่สองของคำนี้ ตุ๊กตา nutcracker หรือ ChristmasContinue Reading

Loading