Submitted by pattara ในตอนนี้เราจะมาเรียนสระกันอีกสองตัวครับ โดยขอขึ้นประเด็นไว้ก่อนเลยว่าเราต้องการจะพูดให้เต็มปากเต็มคำ ไม่ต้องรอให้คนถามว่า “LENS ใส่แว่นตา หรือว่า LANES บนถนน PEN ปากกา หรือว่า PAIN ความเจ็บปวด” สระสองตัวที่ว่าก็คือ สระ EH พบได้ในคำเช่น lensContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ความเดิมตอนที่แล้วเราได้พูดถึงสระ IH และ IY กันไป ผู้อ่านทุกท่านจำกันได้ขึ้นใจแล้วนะครับ ว่าสระสองตัวนี้มีเสียงยังไง โดยที่เราได้ทำความคุ้นชินกับสัญลักษณ์บอกเสียงของเราไปแล้ว ตัวอย่างเช่น SHIP (เรือ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IH P SHEEP (แกะ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IY P ทีนี้บางท่านซึ่งเป็นแฟนพันธุ์แท้ของ LongdoContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak      ในโอกาสที่พจนานุกรม Longdo จะเพิ่มหมวดภาษาท้องถิ่น ซึ่งรวมถึงภาษาอีสานด้วย ก็ขอทำความเข้าใจสักนิด เกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเขียนภาษาอีสาน การสะกดภาษาอีสานโดยมากเท่าที่พบในโอกาสต่าง ๆ จะสะกดคำที่เป็นคำไทยตามแบบไทย แต่สะกดคำที่เป็นคำลาวตามเสียงอ่าน เนื่องจากไม่เคยมีแหล่งอ้างอิงตัวสะกดเป็นแบบแผนให้เห็น ซึ่งก็จะทำให้เกิดความลักลั่น ที่แต่ละคำใช้อักขรวิธีต่างกัน รวมทั้งผันแปรไปมาตามสำเนียงหรือวิธีถ่ายเสียงของคนเขียน ยกตัวอย่างเช่นContinue Reading

Loading