Submitted by pattara หลังจากเกริ่นมายืดยาวถึง 2 ตอน ตอนที่ 3 นี้เรามาเริ่มเนื้อหากันเลยดีกว่าครับ สองสระแรกที่เราจะว่ากันในวันนี้ จะเป็นสระที่น่าจะเรียกได้ว่าง่ายที่สุดสำหรับคนไทย เนื่องจากว่าเสียงของสระทั้งสองนั้น คล้ายกับเสียงสระอิ และ สระอี ของภาษาไทยเอามากๆ นั่นก็คือ สระ IH และContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading

Submitted by amariris อักษรภาษาจีนเป็นอักษรภาพ ซึ่งตัวอักษรสร้างจากภาพวาดและพัฒนา ปรับปรุง จนเป็นภาษาจีนในปัจจุบัน ตัวอักษรภาษาจีนนั้นสามารถสื่อความหมาย แต่ไม่สามารถสื่อคำอ่านได้ ต่างกับภาษาไทยที่เกิดจากตัวอักษร สระ และวรรณยุกต์ ซึ่งสามารถสื่อคำอ่านได้ แต่ไม่สามารถสื่อความหมายได้ จากข้างต้น บางท่านอาจจะคิดว่า ภาษาจีนไม่มีพยัญชนะและสระ มีเพียงตัวอักษรที่เกิดจากภาพ เพื่อใช้บ่งบอกความหมายเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้ว มีนะคะContinue Reading

Loading