Submitted by jjay60 challenge, look over one’s shoulder, stiff paper, scornful สี่คำนี้มีปัญหา (ความจริงมีมากกว่าสี่คำครับ แต่ยังนึกไม่ออกตอนนี้) คำแรกเลยคือ challenge คำนี้เป็นคำที่ผมได้ยินบ่อยครั้งเวลาที่ฝรั่งเขาพูด หรือมีการปราศัย  ส่วนคนไทยก็แปลได้สะใจตรงกับความต้องการของฝรั่งเขาจริงๆ  สมมติฝรั่งเขาพูดว่า “IContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ในตอนนี้เราจะมาเรียนสระกันอีกสองตัวครับ โดยขอขึ้นประเด็นไว้ก่อนเลยว่าเราต้องการจะพูดให้เต็มปากเต็มคำ ไม่ต้องรอให้คนถามว่า “LENS ใส่แว่นตา หรือว่า LANES บนถนน PEN ปากกา หรือว่า PAIN ความเจ็บปวด” สระสองตัวที่ว่าก็คือ สระ EH พบได้ในคำเช่น lensContinue Reading

Loading

Submitted by hikuma  สวัสดีครับ บันทึกสั้นๆนี้เป็นบันทึกประสบการณ์ที่ได้จากการอยู่อาศัยในประเทศญี่ปุ่น ในโอกาสที่จะครบ 3650วัน ในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้านี้  เป็นบันทึกที่ได้รับแรงบันดาลใจจากบล๊อก ของคุณ pattara  ซึ่งมีชื่อบทความว่า พูดอังกฤษเต็มปากเต็มคำ  เป็นคอลัมภ์ที่อ่าน แล้วทำให้เข้าใจถึงหลักการออกเสียงภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี และในฐานะที่ใช้บริการลองดูในการค้นหาศัพท์เป็นประจำ ก็เลยคิดว่าน่าจะลองเขียนเรื่องเกีียวกับภาษาญี่ปุ่นเอาไว้บ้าง เผื่อมีคนจะสนใจ บทความนี้ไม่เหมาะสำหรับผู้เชี่ยวชาญภาษาญีปุ่น แต่เหมาะสำหรับ คนที่ไม่เคยเรียนภาษาญี่ปุ่นแต่อยากจะลองทักทายกับคนญี่ปุ่น อยากContinue Reading

Loading

Submitted by tli ขอนำเสนอคำที่ใช้คู่กัน เพื่อเปรียบเปรยหรือเปรียบเทียบ คำว่า brain หมายถึง สมอง คำว่า brawn (ออกเสียง บรอน) หมายถึง พละกำลัง อาจจะเจอในประโยคอย่างเช่น This task requires notContinue Reading

Loading

Submitted by tli มีหนังสือเกี่ยวกับภาษาเป็นจำนวนมากนะครับ ทั้งหนังสือที่ว่าด้วยเรื่องการเขียนทับศัพท์ภาษาต่างๆ โดยเข้าไปที่หน้าแรกของเว็บไซต์ทางราชบัณฑิตยสถาน ที่นี่ http://www.royin.go.th/th/home/ คำศัพท์ทางวิชาการหลายคำ ถ้าหาคำแปลไม่เจอ หรือต้องการคำไทยเพื่อใช้ในงานเขียน ผมแนะนำให้เข้าไปที่เว็บไซต์ของทางราชบัณฑิตยสถานครับ ที่นี่ http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php

Loading

Submitted by pattara หลังจากเกริ่นมายืดยาวถึง 2 ตอน ตอนที่ 3 นี้เรามาเริ่มเนื้อหากันเลยดีกว่าครับ สองสระแรกที่เราจะว่ากันในวันนี้ จะเป็นสระที่น่าจะเรียกได้ว่าง่ายที่สุดสำหรับคนไทย เนื่องจากว่าเสียงของสระทั้งสองนั้น คล้ายกับเสียงสระอิ และ สระอี ของภาษาไทยเอามากๆ นั่นก็คือ สระ IH และContinue Reading

Loading

Submitted by pattara จาก ตอนที่ 1 บางท่านอาจสังเกตแล้วว่าผมได้ทิ้งท้ายไว้ว่า See you! (S IY1 Y AH) ไอ้คำว่า See you! ที่แปลว่า แล้วเจอกันนะ ก็คงไม่มีปัญหาอะไร แต่ว่าไอ้ตัวด้านล่าง S IY1Continue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak      ในโอกาสที่พจนานุกรม Longdo จะเพิ่มหมวดภาษาท้องถิ่น ซึ่งรวมถึงภาษาอีสานด้วย ก็ขอทำความเข้าใจสักนิด เกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเขียนภาษาอีสาน การสะกดภาษาอีสานโดยมากเท่าที่พบในโอกาสต่าง ๆ จะสะกดคำที่เป็นคำไทยตามแบบไทย แต่สะกดคำที่เป็นคำลาวตามเสียงอ่าน เนื่องจากไม่เคยมีแหล่งอ้างอิงตัวสะกดเป็นแบบแผนให้เห็น ซึ่งก็จะทำให้เกิดความลักลั่น ที่แต่ละคำใช้อักขรวิธีต่างกัน รวมทั้งผันแปรไปมาตามสำเนียงหรือวิธีถ่ายเสียงของคนเขียน ยกตัวอย่างเช่นContinue Reading

Loading

Submitted by amariris อักษรภาษาจีนเป็นอักษรภาพ ซึ่งตัวอักษรสร้างจากภาพวาดและพัฒนา ปรับปรุง จนเป็นภาษาจีนในปัจจุบัน ตัวอักษรภาษาจีนนั้นสามารถสื่อความหมาย แต่ไม่สามารถสื่อคำอ่านได้ ต่างกับภาษาไทยที่เกิดจากตัวอักษร สระ และวรรณยุกต์ ซึ่งสามารถสื่อคำอ่านได้ แต่ไม่สามารถสื่อความหมายได้ จากข้างต้น บางท่านอาจจะคิดว่า ภาษาจีนไม่มีพยัญชนะและสระ มีเพียงตัวอักษรที่เกิดจากภาพ เพื่อใช้บ่งบอกความหมายเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้ว มีนะคะContinue Reading

Loading