Submitted by pattara ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่าวันนี้เป็นเรื่องของภาษาอังกฤษฉบับภาษาพูดนะครับ อาจจะไม่มีในบทเรียน บ่อยครั้ง เราได้ยินประโยคภาษาอังกฤษจากในเพลง หรือ ภาษาพูดในหนัง ที่บางทีมีการใช้ negative ซ้อนกันสองคำในประโยคเดียว เราก็ควรจะอย่างน้อยทำความเข้าใจไว้ ว่ามันหมายความว่าอย่างไร เช่น He ain’t got no money.Continue Reading

Loading

Submitted by pattara คำว่า but เรารู้กันอยู่ว่าแปลว่า “แต่” ใช่ไหมครับ I like it but I’m full now. ฉันชอบนะแต่ว่าตอนนี้อิ่มแล้ว. It’s sad but true. มันน่าเสียใจ แต่ก็เป็นเรื่องจริง/เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นอะนะ. แล้วคำว่า “allContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ในตอนนี้เราจะมาเรียนสระกันอีกสองตัวครับ โดยขอขึ้นประเด็นไว้ก่อนเลยว่าเราต้องการจะพูดให้เต็มปากเต็มคำ ไม่ต้องรอให้คนถามว่า “LENS ใส่แว่นตา หรือว่า LANES บนถนน PEN ปากกา หรือว่า PAIN ความเจ็บปวด” สระสองตัวที่ว่าก็คือ สระ EH พบได้ในคำเช่น lensContinue Reading

Loading

Submitted by hikuma  สวัสดีครับ บันทึกสั้นๆนี้เป็นบันทึกประสบการณ์ที่ได้จากการอยู่อาศัยในประเทศญี่ปุ่น ในโอกาสที่จะครบ 3650วัน ในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้านี้  เป็นบันทึกที่ได้รับแรงบันดาลใจจากบล๊อก ของคุณ pattara  ซึ่งมีชื่อบทความว่า พูดอังกฤษเต็มปากเต็มคำ  เป็นคอลัมภ์ที่อ่าน แล้วทำให้เข้าใจถึงหลักการออกเสียงภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี และในฐานะที่ใช้บริการลองดูในการค้นหาศัพท์เป็นประจำ ก็เลยคิดว่าน่าจะลองเขียนเรื่องเกีียวกับภาษาญี่ปุ่นเอาไว้บ้าง เผื่อมีคนจะสนใจ บทความนี้ไม่เหมาะสำหรับผู้เชี่ยวชาญภาษาญีปุ่น แต่เหมาะสำหรับ คนที่ไม่เคยเรียนภาษาญี่ปุ่นแต่อยากจะลองทักทายกับคนญี่ปุ่น อยากContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ความเดิมตอนที่แล้วเราได้พูดถึงสระ IH และ IY กันไป ผู้อ่านทุกท่านจำกันได้ขึ้นใจแล้วนะครับ ว่าสระสองตัวนี้มีเสียงยังไง โดยที่เราได้ทำความคุ้นชินกับสัญลักษณ์บอกเสียงของเราไปแล้ว ตัวอย่างเช่น SHIP (เรือ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IH P SHEEP (แกะ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IY P ทีนี้บางท่านซึ่งเป็นแฟนพันธุ์แท้ของ LongdoContinue Reading

Loading

Submitted by tli มีหนังสือเกี่ยวกับภาษาเป็นจำนวนมากนะครับ ทั้งหนังสือที่ว่าด้วยเรื่องการเขียนทับศัพท์ภาษาต่างๆ โดยเข้าไปที่หน้าแรกของเว็บไซต์ทางราชบัณฑิตยสถาน ที่นี่ http://www.royin.go.th/th/home/ คำศัพท์ทางวิชาการหลายคำ ถ้าหาคำแปลไม่เจอ หรือต้องการคำไทยเพื่อใช้ในงานเขียน ผมแนะนำให้เข้าไปที่เว็บไซต์ของทางราชบัณฑิตยสถานครับ ที่นี่ http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php

Loading

Submitted by pattara หลังจากเกริ่นมายืดยาวถึง 2 ตอน ตอนที่ 3 นี้เรามาเริ่มเนื้อหากันเลยดีกว่าครับ สองสระแรกที่เราจะว่ากันในวันนี้ จะเป็นสระที่น่าจะเรียกได้ว่าง่ายที่สุดสำหรับคนไทย เนื่องจากว่าเสียงของสระทั้งสองนั้น คล้ายกับเสียงสระอิ และ สระอี ของภาษาไทยเอามากๆ นั่นก็คือ สระ IH และContinue Reading

Loading

Submitted by pattara จาก ตอนที่ 1 บางท่านอาจสังเกตแล้วว่าผมได้ทิ้งท้ายไว้ว่า See you! (S IY1 Y AH) ไอ้คำว่า See you! ที่แปลว่า แล้วเจอกันนะ ก็คงไม่มีปัญหาอะไร แต่ว่าไอ้ตัวด้านล่าง S IY1Continue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak      ในโอกาสที่พจนานุกรม Longdo จะเพิ่มหมวดภาษาท้องถิ่น ซึ่งรวมถึงภาษาอีสานด้วย ก็ขอทำความเข้าใจสักนิด เกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเขียนภาษาอีสาน การสะกดภาษาอีสานโดยมากเท่าที่พบในโอกาสต่าง ๆ จะสะกดคำที่เป็นคำไทยตามแบบไทย แต่สะกดคำที่เป็นคำลาวตามเสียงอ่าน เนื่องจากไม่เคยมีแหล่งอ้างอิงตัวสะกดเป็นแบบแผนให้เห็น ซึ่งก็จะทำให้เกิดความลักลั่น ที่แต่ละคำใช้อักขรวิธีต่างกัน รวมทั้งผันแปรไปมาตามสำเนียงหรือวิธีถ่ายเสียงของคนเขียน ยกตัวอย่างเช่นContinue Reading

Loading