Submitted by pattara หลังจากเกริ่นมายืดยาวถึง 2 ตอน ตอนที่ 3 นี้เรามาเริ่มเนื้อหากันเลยดีกว่าครับ สองสระแรกที่เราจะว่ากันในวันนี้ จะเป็นสระที่น่าจะเรียกได้ว่าง่ายที่สุดสำหรับคนไทย เนื่องจากว่าเสียงของสระทั้งสองนั้น คล้ายกับเสียงสระอิ และ สระอี ของภาษาไทยเอามากๆ นั่นก็คือ สระ IH และContinue Reading

Loading

Submitted by pattara จาก ตอนที่ 1 บางท่านอาจสังเกตแล้วว่าผมได้ทิ้งท้ายไว้ว่า See you! (S IY1 Y AH) ไอ้คำว่า See you! ที่แปลว่า แล้วเจอกันนะ ก็คงไม่มีปัญหาอะไร แต่ว่าไอ้ตัวด้านล่าง S IY1Continue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak      ในโอกาสที่พจนานุกรม Longdo จะเพิ่มหมวดภาษาท้องถิ่น ซึ่งรวมถึงภาษาอีสานด้วย ก็ขอทำความเข้าใจสักนิด เกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเขียนภาษาอีสาน การสะกดภาษาอีสานโดยมากเท่าที่พบในโอกาสต่าง ๆ จะสะกดคำที่เป็นคำไทยตามแบบไทย แต่สะกดคำที่เป็นคำลาวตามเสียงอ่าน เนื่องจากไม่เคยมีแหล่งอ้างอิงตัวสะกดเป็นแบบแผนให้เห็น ซึ่งก็จะทำให้เกิดความลักลั่น ที่แต่ละคำใช้อักขรวิธีต่างกัน รวมทั้งผันแปรไปมาตามสำเนียงหรือวิธีถ่ายเสียงของคนเขียน ยกตัวอย่างเช่นContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ท่านเคยเกิดอาการพูดภาษาอังกฤษไม่เต็มปากเต็มคำไหมครับ? อาการมันจะเกิดเวลาเจอคำศัพท์จำพวกสกัดดาวรุ่ง ที่ตัวสะกดก็แทบจะจำไม่ได้อยู่แล้ว หรือ แม้กระทั่งศัพท์พื้นๆ ที่เราคิดว่าน่าจะอ่านถูกแล้ว แล้วก็พูดออกไป ด้วยความมั่นใจเต็มร้อย แต่ทันใดนั้นคู่สนทนาของเราก็เกิดอาการ ขมวดคิ้วเล็กๆ หยุดคิดนิดนึง แล้วก็บอกว่า Sorry? (อะไรนะ) 🙁 เอ้อ ตูว่าก็พูดไปชัดอยู่นะ hmm I meanContinue Reading

Loading