Submitted by pattara จาก ตอนที่ 1 บางท่านอาจสังเกตแล้วว่าผมได้ทิ้งท้ายไว้ว่า See you! (S IY1 Y AH) ไอ้คำว่า See you! ที่แปลว่า แล้วเจอกันนะ ก็คงไม่มีปัญหาอะไร แต่ว่าไอ้ตัวด้านล่าง S IY1Continue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak      ในโอกาสที่พจนานุกรม Longdo จะเพิ่มหมวดภาษาท้องถิ่น ซึ่งรวมถึงภาษาอีสานด้วย ก็ขอทำความเข้าใจสักนิด เกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเขียนภาษาอีสาน การสะกดภาษาอีสานโดยมากเท่าที่พบในโอกาสต่าง ๆ จะสะกดคำที่เป็นคำไทยตามแบบไทย แต่สะกดคำที่เป็นคำลาวตามเสียงอ่าน เนื่องจากไม่เคยมีแหล่งอ้างอิงตัวสะกดเป็นแบบแผนให้เห็น ซึ่งก็จะทำให้เกิดความลักลั่น ที่แต่ละคำใช้อักขรวิธีต่างกัน รวมทั้งผันแปรไปมาตามสำเนียงหรือวิธีถ่ายเสียงของคนเขียน ยกตัวอย่างเช่นContinue Reading

Loading

Submitted by amariris อักษรภาษาจีนเป็นอักษรภาพ ซึ่งตัวอักษรสร้างจากภาพวาดและพัฒนา ปรับปรุง จนเป็นภาษาจีนในปัจจุบัน ตัวอักษรภาษาจีนนั้นสามารถสื่อความหมาย แต่ไม่สามารถสื่อคำอ่านได้ ต่างกับภาษาไทยที่เกิดจากตัวอักษร สระ และวรรณยุกต์ ซึ่งสามารถสื่อคำอ่านได้ แต่ไม่สามารถสื่อความหมายได้ จากข้างต้น บางท่านอาจจะคิดว่า ภาษาจีนไม่มีพยัญชนะและสระ มีเพียงตัวอักษรที่เกิดจากภาพ เพื่อใช้บ่งบอกความหมายเท่านั้น แต่แท้ที่จริงแล้ว มีนะคะContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ท่านเคยเกิดอาการพูดภาษาอังกฤษไม่เต็มปากเต็มคำไหมครับ? อาการมันจะเกิดเวลาเจอคำศัพท์จำพวกสกัดดาวรุ่ง ที่ตัวสะกดก็แทบจะจำไม่ได้อยู่แล้ว หรือ แม้กระทั่งศัพท์พื้นๆ ที่เราคิดว่าน่าจะอ่านถูกแล้ว แล้วก็พูดออกไป ด้วยความมั่นใจเต็มร้อย แต่ทันใดนั้นคู่สนทนาของเราก็เกิดอาการ ขมวดคิ้วเล็กๆ หยุดคิดนิดนึง แล้วก็บอกว่า Sorry? (อะไรนะ) 🙁 เอ้อ ตูว่าก็พูดไปชัดอยู่นะ hmm I meanContinue Reading

Loading