Submitted by EnglishParks หลายๆคนคงงงๆกับการใช้ although , despite และ in spite of ซึ่งทั้งหมดนี้ แปลว่า “ถึงม้ว่า ……. แต่” แต่หลายคนก็อาจจะใช้ผิด ไม่ก็ใช้ตามแบบในภาษาไทยที่ต้องมีคำว่า “แต่ (but)”Continue Reading

Loading

Submitted by Rutairat_tni Verb to be นั้นเป็นได้ทั้งกริยาช่วยและกริยาแท้ โดยสรุปรูปแบบหลักๆของ Verb to be ได้ดังนี้ รูปปัจจุบันของ V. to be ได้แ่ก่ be is am areContinue Reading

Loading

Submitted by Rutairat_tni สรรพนามบ่งชี้ หรือ Demonstrative pronoun เป็นคำศัพท์ที่ใช้แทนคำนาม เพื่อบ่งชี้ว่าเป็นสิ่งไหน อันไหน หรือคนไหนสรรพนามในกลุ่มนี้เช่น  this (นี้) ใช้แทนคำนามเอกพจน์ที่อยู่ใกล้ตัวผู้พูด เช่นThis is my rabbit statue.(นี่คือรูปปั้นกระต่ายของฉัน) thatContinue Reading

Loading

Submitted by gauana เคยสงสัยกันไหมคะว่าทำไมต้อง “ผู้ดีอังกฤษ” ลองมานั่งคิดดูเล่นๆ หลังจากได้ไปใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นมาปีกว่าๆ     การเข้าคิว อันนี้เห็นชัดมาก ทำอะไรก็ต้องมีคิวเสมอ ไม่มีการแย่งกัน รถเมล์เค้าจะจอดตรงป้ายอยู่แล้ว เข้าคิวรอที่ป้ายได้เลย ไม่ต้องวิ่งตามเหมือนบ้านเรา     การพูด Please, Thank you,Continue Reading

Loading

Submitted by kitty_kob ในกรณีที่เว็บไซต์ของท่านมีการค้นหาในรูปแบบต่างๆ อยู่แล้ว เช่น ค้นหาคำจากฐานข้อมูล ท่านสามารถเพิ่มผลการค้นหาจากฐานข้อมูลของ Longdo Dict เข้าไปได้ ด้วยการนำปุ่ม Longdo Dict ไปแปะในเว็บไซต์ของท่าน เช่น ต่อท้ายจากผลลัพธ์การค้นหาปกติ เพื่อให้ผู้ใช้ที่สนใจอยากดูผลการค้นหาจาก Longdo DictContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ก่อนอื่นต้องบอกก่อนว่าวันนี้เป็นเรื่องของภาษาอังกฤษฉบับภาษาพูดนะครับ อาจจะไม่มีในบทเรียน บ่อยครั้ง เราได้ยินประโยคภาษาอังกฤษจากในเพลง หรือ ภาษาพูดในหนัง ที่บางทีมีการใช้ negative ซ้อนกันสองคำในประโยคเดียว เราก็ควรจะอย่างน้อยทำความเข้าใจไว้ ว่ามันหมายความว่าอย่างไร เช่น He ain’t got no money.Continue Reading

Loading

Submitted by jjay60      คนไทยรู้กันมาตั้งนมน้าน…นมนานแล้วว่า ต่อไปภาษาอังกฤษจะเข้ามามีบทบาทมากในทุกวงการ แต่คนไทยใจเย้นเย็นก็ค่อยๆ เรียนรู้กันไปทีละน้อยละนิด รู้กะปริดกะปรอย อะลิตเติ้ลบิท อะลิตเติ้ลบ่อย เนิบๆ ช้าๆ ได้พร้าสองเล่มสนิมเกรอะกรังอะไรประมาณนั้น ภาษาอังกฤษของคนไทยก็เลยไปไม่ถึงดวงดาวกับเขาเสียที      ที่พูดเนี่ยไม่ได้คิดจะส่งเสริมแต่ภาษาอังกฤษจนลืมภาษาไทยเราเองนะคับ แต่ที่เน้นภาษาอังกฤษเพราะเราจะได้ตามทันประเทศอื่นๆ เขา เพราะภาษาอังกฤษจะเปิดประตูนำเราไปสู่โลกกว้างที่เราไม่เคยรู้เคยเห็นมาก่อน มีแหล่งความรู้มากมายในโลกไซเบอร์ เช่นContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ความเดิมตอนที่แล้วเราได้พูดถึงสระ IH และ IY กันไป ผู้อ่านทุกท่านจำกันได้ขึ้นใจแล้วนะครับ ว่าสระสองตัวนี้มีเสียงยังไง โดยที่เราได้ทำความคุ้นชินกับสัญลักษณ์บอกเสียงของเราไปแล้ว ตัวอย่างเช่น SHIP (เรือ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IH P SHEEP (แกะ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IY P ทีนี้บางท่านซึ่งเป็นแฟนพันธุ์แท้ของ LongdoContinue Reading

Loading

Submitted by pattara หลังจากเกริ่นมายืดยาวถึง 2 ตอน ตอนที่ 3 นี้เรามาเริ่มเนื้อหากันเลยดีกว่าครับ สองสระแรกที่เราจะว่ากันในวันนี้ จะเป็นสระที่น่าจะเรียกได้ว่าง่ายที่สุดสำหรับคนไทย เนื่องจากว่าเสียงของสระทั้งสองนั้น คล้ายกับเสียงสระอิ และ สระอี ของภาษาไทยเอามากๆ นั่นก็คือ สระ IH และContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak ตอนที่แล้ว  ได้เสนอแนวทางการสะกดคำภาษาอีสานไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาดูหน่วยเสียงและการออกเสียงภาษาอีสานกัน เพื่อเป็นแนวทางในการเข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างรูปเขียนกับเสียงอ่าน เพื่อความสะดวกในการทำความเข้าใจ จะใช้วิธีแยกความแตกต่างจากภาษากรุงเทพฯ เสียงพยัญชนะ ภาษาอีสาน มีหน่วยเสียงพยัญชนะที่ต่างจากภาษากรุงเทพฯ ดังนี้ ญ ออกเสียงนาสิก ไม่ใช่เหมือน ย ซึ่งตรงนี้ หากพิจารณาตามพยัญชนะวรรคแล้วContinue Reading

Loading