Submitted by pattara ในตอนนี้เราจะมาเรียนสระกันอีกสองตัวครับ โดยขอขึ้นประเด็นไว้ก่อนเลยว่าเราต้องการจะพูดให้เต็มปากเต็มคำ ไม่ต้องรอให้คนถามว่า “LENS ใส่แว่นตา หรือว่า LANES บนถนน PEN ปากกา หรือว่า PAIN ความเจ็บปวด” สระสองตัวที่ว่าก็คือ สระ EH พบได้ในคำเช่น lensContinue Reading

Loading

Submitted by hikuma  สวัสดีครับ บันทึกสั้นๆนี้เป็นบันทึกประสบการณ์ที่ได้จากการอยู่อาศัยในประเทศญี่ปุ่น ในโอกาสที่จะครบ 3650วัน ในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้านี้  เป็นบันทึกที่ได้รับแรงบันดาลใจจากบล๊อก ของคุณ pattara  ซึ่งมีชื่อบทความว่า พูดอังกฤษเต็มปากเต็มคำ  เป็นคอลัมภ์ที่อ่าน แล้วทำให้เข้าใจถึงหลักการออกเสียงภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี และในฐานะที่ใช้บริการลองดูในการค้นหาศัพท์เป็นประจำ ก็เลยคิดว่าน่าจะลองเขียนเรื่องเกีียวกับภาษาญี่ปุ่นเอาไว้บ้าง เผื่อมีคนจะสนใจ บทความนี้ไม่เหมาะสำหรับผู้เชี่ยวชาญภาษาญีปุ่น แต่เหมาะสำหรับ คนที่ไม่เคยเรียนภาษาญี่ปุ่นแต่อยากจะลองทักทายกับคนญี่ปุ่น อยากContinue Reading

Loading

Submitted by pairtri ฉันสมัครเขียนบล็อกที่นี่เพราะชอบชื่อเว็บไซต์ ลองดู…การทดลองทำดู ไม่เสียหาย Long Do…ทำไปยาวๆ นานๆ จึงรู้ได้ ในโลกนี้มีถ้อยคำต่างๆ มากมาย ที่ส่งผลต่อความรู้สึกอย่างหลากหลาย สุข หรือทุกข์ หัวเราะ หรือร้องไห้ ชีวิตก็เป็นเช่นนี้ ซับซ้อน แต่แสนเรียบง่ายContinue Reading

Loading

Submitted by pattara ความเดิมตอนที่แล้วเราได้พูดถึงสระ IH และ IY กันไป ผู้อ่านทุกท่านจำกันได้ขึ้นใจแล้วนะครับ ว่าสระสองตัวนี้มีเสียงยังไง โดยที่เราได้ทำความคุ้นชินกับสัญลักษณ์บอกเสียงของเราไปแล้ว ตัวอย่างเช่น SHIP (เรือ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IH P SHEEP (แกะ) เราจะเขียนคำอ่านว่า SH IY P ทีนี้บางท่านซึ่งเป็นแฟนพันธุ์แท้ของ LongdoContinue Reading

Loading

Submitted by pattara หลังจากเกริ่นมายืดยาวถึง 2 ตอน ตอนที่ 3 นี้เรามาเริ่มเนื้อหากันเลยดีกว่าครับ สองสระแรกที่เราจะว่ากันในวันนี้ จะเป็นสระที่น่าจะเรียกได้ว่าง่ายที่สุดสำหรับคนไทย เนื่องจากว่าเสียงของสระทั้งสองนั้น คล้ายกับเสียงสระอิ และ สระอี ของภาษาไทยเอามากๆ นั่นก็คือ สระ IH และContinue Reading

Loading

Submitted by theppitak      ในโอกาสที่พจนานุกรม Longdo จะเพิ่มหมวดภาษาท้องถิ่น ซึ่งรวมถึงภาษาอีสานด้วย ก็ขอทำความเข้าใจสักนิด เกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเขียนภาษาอีสาน การสะกดภาษาอีสานโดยมากเท่าที่พบในโอกาสต่าง ๆ จะสะกดคำที่เป็นคำไทยตามแบบไทย แต่สะกดคำที่เป็นคำลาวตามเสียงอ่าน เนื่องจากไม่เคยมีแหล่งอ้างอิงตัวสะกดเป็นแบบแผนให้เห็น ซึ่งก็จะทำให้เกิดความลักลั่น ที่แต่ละคำใช้อักขรวิธีต่างกัน รวมทั้งผันแปรไปมาตามสำเนียงหรือวิธีถ่ายเสียงของคนเขียน ยกตัวอย่างเช่นContinue Reading

Loading